การออกแบบพัฒนาตราสัญลักษณ์และรูปลักษณ์บรรจุภัณฑ์
เพื่อเชื่อมโยงการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
สำหรับผลิตภัณฑ์สุขภาพและความงามของกลุ่มวิสาหกิจชุมชน จังหวัดชัยนาท
การวิเคราะห์ข้อมูลผลิตภัณฑ์ด้วยวิธีการสังเกตและการมองเห็น
(Product and Package Visual analysis)
(Product and Package Visual analysis)
ภาพที่1 ภาพแสดงผลิตภัณฑ์แชมพูมข้าวหอมนิล
(ที่มา : กิตติพันธ์ เย็นใจ ,2557)
1.ศึกษาวิเคราะห์สินค้าและบรรจุภัณฑ์
ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับตัวสินค้า
ชื่อสินค้า แชมพูสระผม ข้าวหอมนิล
ประเภท สมุนไพรที่ไม่ใช่อาหาร
สถานะ ของเหลว
วัสดุหลัก ข้าวหอมนิลกลั่น
ผู้ผลิต วิสาหกิจชุมชนเกษตรรักษ์โลก
ที่อยู่ เลขที่ 86 หมู่ที่ 5 ถนน ตำบลหนองขุ่น อำเภอวัดสิงห์ จังหวัดชัยนาท
โทรศัพท์ 08 -0848834
Email yai_chadakorn@hotmail.com
วัสดุประกอบร่วมในตัวสินค้า/ส่วนผสม มะกรูด บอระเพ็ด ทองพันชั่ง กระเม็ง และสมุนไพรอื่นๆ
สี ม่วง/ครีม
ขนาด/มิติ กว้าง*สูง*หนา*ทรง ทรงกระบอก เส้นผ่าศูนย์กลาง 5 ซ.ม สูง 16.5 ซ.ม
ธรรมชาติการวางขาย/รูปแบบการขาย -
ใช้เวลาในการผลิตสินค้า -
ราคา 85 บาท
การนำส่งสินค้า ทางบก
โครงสร้างหลักของตัวบรรจุภัณฑ์ที่ใช้
เทคนิคการบรรจุภัณฑ์ ใส่ขวดพาลสติกและมีฝาเปิด
ใช้เทคนิค/วิธีการ/การบรรจุสินค้า -
บรรจุภัณฑ์ชั้นแรกใช้วัสดุ ขวดพาลสติก
บรรจุภัณฑ์ชั้น2ใช้วัสดุ -
บรรจุภัณฑ์ชั้น3ใช้วัสดุ -
ขนาด/มิติ ทรงกระบอก
สีของวัสดุบรรจุภัณฑ์ สีใสและขาวขุ่น
การขึ้นรูปทรง ทรงกระบอก
วัสดุตกแต่ง -
ระบบการพิมพ์ที่ใช้
สี/จำนวนสีที่พิมพ์ 4สี
การออกแบบกราฟิก
ภาพประกอบ ทุ่งนาและรวงข้าว
ลวดลาย -
ข้อความ บำรุงรากผม ช่วยให้ผมเงางาม ผมนิ่มสลวย
โลโก้ชื่อสินค้า แชมพูสระผม ข้าวหอมนิล Homnin Rice Hair Shampoo
โลโก้ชื่อผู้พลิต วิสหกิจชุมชนเกษตรรักษ์โลก
ภาพที่2 ภาพแสดงโครงสร้างและส่วนประกอบทางกราฟิกของผลิตภัณ์ฑ์แชมพูข้าวหอมนิล
(ที่มา : กิตติพันธ์ เย็นใจ ,2557)
ผลการวิเคราะห์
ก.โครงสร้างของบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ปัจจุบัน
หมายเลข 1 คือ ขวดพลาสติก
1.1 ขวดพลาสติก : ชนิด PP
1.2 ขนาด มิติ : เส้นผ่าศูนย์กลาง 5 ซ.ม สูง 16.5 ซ.ม
1.3 สีของวัสดุบรรจุภัณฑ์ : สีใส
1.4 วิธีการ/เทคนิค/การบรรจุสินค้า: บรรจุในขวด
1.5 ฟอนต์: Angsana New (ชื่อสินค้า) , Sarabun New (ข้อมูลสินค้า)
1.6 ราคา : 85 บาท
1.3 สีของวัสดุบรรจุภัณฑ์ : สีใส
1.4 วิธีการ/เทคนิค/การบรรจุสินค้า: บรรจุในขวด
1.5 ฟอนต์: Angsana New (ชื่อสินค้า) , Sarabun New (ข้อมูลสินค้า)
1.6 ราคา : 85 บาท
หมายเลข 2 คือ ตัวผลิตภัณฑ์ ครีมนวดผมข้าวหอมนิล
หมายเลข 3 คือ ฝาปิดของขวดพลาสติก
ข. กราฟิกที่ปรากฏบนตัวบรรจุภัณฑ์ที่ใช้ปัจจุบัน
หมายเลข 4 : โลโก้ผู้ผลิต
หมายเลข 5 : ภาพประกอบรูปรวงข้าว
หมายเลข 6 : ข้อความชักชวน บำรุงรากผม ช่วยให้ผมเงางาม ผมนิ่มสลวย
หมายเลข 7 : ราคา
หมายเลข 8 : ชื้อสินค้าครีมนวดผมข้าวหอมนิล
หมายเลข 9 : ข้อมูลส่วนประกอบผลิตภัณฑ์
หมายเลข 10 : ข้อมูลวิธีใช้
หมายเลข 11 : ข้อมูลสรรพคุณของผลิตภัณฑ์
หมายเลข 12 : ข้อมูลที่อยู่และเบอร์ติดต่อของผู้ผลิต
ปัญหาที่พบคือ
1. จุดบอดทางการมองเห็น-การสื่อสาร ได้แก่
1.1. ภาพประกอบไม่มีความน่าสนใจ
1.2. ตัวฉลากยังไม่น่าดึงดูดพอ
1.3. ฟ้อนข้อความบนฉลากสีขาวทำให้อ่านได้ยาก
1.4. บรรจุภัณฑ์ยังไม่น่าดึงดูด และไม่น่าสนใจ
1.5. บรรจุภัณฑ์ ยังมีข้อมูลไม่เพียงพอ
1.6 ไม่มี วัน/เดือน/ปีที่ผลิต ระบุบนบรรจุภัณฑ์
2. ความต้องการของผู้ประกอบการ
ผู้ประกอบการมึความต้องการให้ออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่มีความน่าสนใจน่าดึงดูด
ผู้บริโภคมากขึ้น
สามารถนำไปวางขายในห้างสรรพสินค้าได้โดยให้มีกลิ่นอายของธรรมชาติและการ
อนุรักษ์ธรรมชาติ
ต้องการชื่อผลิตภัณ์ที่เป็นคำสั้นๆแต่มีเอกลักษณ์ แปลก เห็นแล้วเกิดความสนใจ
ตัวอย่างสินค้าเปรียบเทียบที่จำหน่ายตามท้องตลาด
ภาพที่3 ภาพแสดงผลิตภัณฑ์ยาสระผมข้าวและครีมนวดผมข้าวหอมนิลตัวอย่างสินค้าเปรียบเทียบที่จำหน่ายตามท้องตลาด
ผลิตภัณฑ์ของกลุ่มแม่บ้านตำบลรำมะสัก จ.อ่างทอง
(ที่มา : http://easypeasyshop.weloveshopping.com/shop/showproduct.php?pid=16578887&shopid=206363 )
ภาพที่4 ภาพแสดงผลิตภัณฑ์แชมพูข้าวหอมนิลเพาะงอก สูตร "เซรั่มบิวต์"
(ที่มา : http://www.sabuyjaishop.com/shop/baleeda/images/xjqpyfrbn0xhrjx4l4da29102013443000001.jpg)
ปัญหาที่พบคือ
ปัญหาที่พบคือ
1. จุดบอดทางการมองเห็น-การสื่อสาร ได้แก่
1.1. ภาพประกอบไม่มีความน่าสนใจ
1.2. ตัวฉลากยังไม่น่าดึงดูดพอ
1.3. ฟ้อนข้อความบนฉลากสีขาวทำให้อ่านได้ยาก
1.4. บรรจุภัณฑ์ยังไม่น่าดึงดูด และไม่น่าสนใจ
1.5. บรรจุภัณฑ์ ยังมีข้อมูลไม่เพียงพอ
1.6 ไม่มี วัน/เดือน/ปีที่ผลิต ระบุบนบรรจุภัณฑ์
2. ความต้องการของผู้ประกอบการ
ผู้ประกอบการมึความต้องการให้ออกแบบบรรจุภัณฑ์ที่มีความน่าสนใจน่าดึงดูดผู้บริโภคมากขึ้น สามารถ นำไปวางขายในห้างสรรพสินค้าได้โดยให้มีกลิ่นอายของธรรมชาติและการอนุรักษ์ธรรมชาติ ต้องการชื่อผลิตภัณ์ ที่เป็นคำสั้นๆแต่มีเอกลักษณ์ แปลก เห็นแล้วเกิดความสนใจ
การวิเคราะห์ swot analysis
จุดแข็ง
เป็นสินค้าที่มีวัตถุดิบจากสมุนไพร ภูมิปัญญาชาวบ้าน มีสรรพคุณที่หลากหลาย และมีโอกาส ที่จะแพ้ผลิตภัณฑ์น้อย
จุดอ่อน
ผลิตภัณฑ์ขาดการพัฒนาในด้านบรรจุภัณฑ์ให้น่าสนใจแก่ลูกค้า และ มีกำลังการผลิตที่น้อย
โอกาส
เป็นผลิตภัณฑ์โอทอปที่หน่วยงานรัฐพร้อมให้การสนับสนุน ผลิตภัณฑ์เป็นของใช้ในชีวิตประจำวัน มีศักยภาพที่จะปรับปรุงและพัฒนาเพิ่มมูลค่าได้อีกมาก
อุปสรรค
ผลิตภัณฑ์มีการแข่งขันในตลาดสูง และผลิตภัณฑ์ยังไม่ผ่านการตรวจสอบ จากสาธรณสุขและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องของรัฐ ยังไม่มาตรฐานการควบคุมมาตรฐานผลิตภัณฑ์
แนวคิดหลักในการออกแบบพัฒนาของกลุ่มและส่วนบุคคล
1. แนวคิดหลักในการออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม
มีแนวคิดในการออกแบบโดยให้มีกลิ่นอายของธรรมชาติและการอนุรักษ์ธรรมชาติ แต่มีความทันสมัย ในตัว บรรจุภัณฑ์ เพื่อสามารถนำไปวางขายในห้างสรรพสินค้าได้
1. แนวคิดหลักในการออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์ของกลุ่ม
มีแนวคิดในการออกแบบโดยให้มีกลิ่นอายของธรรมชาติและการอนุรักษ์ธรรมชาติ แต่มีความทันสมัย ในตัว บรรจุภัณฑ์ เพื่อสามารถนำไปวางขายในห้างสรรพสินค้าได้
2.แนวคิดหลักในการออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์ส่วนตัว
มีแนวคิดในการออกแบบพัฒนาให้ดีขึ้นกว่าเดิม การปรับเปลี่ยนโลโก้ให้ดูน่าสนใจขึ้นและไปใน ทิศทาง เดียวกันกับบรรจุภัณฑ์ การเปลี่ยนภาพประกอบให้มีสีสันที่สดใส เน้นโทนสีเขียวเพื่อให้ความรู้สึก ให้นึกถึง ธรรมชาติ ปรับเปลี่ยนฟอนต์ให้สามารถอ่านได้ง่ายขึ้น
มีแนวคิดในการออกแบบพัฒนาให้ดีขึ้นกว่าเดิม การปรับเปลี่ยนโลโก้ให้ดูน่าสนใจขึ้นและไปใน ทิศทาง เดียวกันกับบรรจุภัณฑ์ การเปลี่ยนภาพประกอบให้มีสีสันที่สดใส เน้นโทนสีเขียวเพื่อให้ความรู้สึก ให้นึกถึง ธรรมชาติ ปรับเปลี่ยนฟอนต์ให้สามารถอ่านได้ง่ายขึ้น
จากการที่ได้ศึกษาเกี่ยวกับตัวผลิตภัณฑ์ แชมพูและครีมนวดผมข้าวหอมนิล ตามขบวนการ ต่างๆแล้วนั้น พบว่า ผลิตภัณฑ์มีจุดเด่นที่เป็นสินค้าที่มีวัตถุดิบจากสมุนไพรธรรมชาติ โดยมี ข้าวหอมนิลกลั่นเป็นวัตถุดิบหลัก มีสรรพคุณที่หลากหลาย แต่ผลิตภัณฑ์ยังมี จุดอ่อนใน การพัฒนา เอกลักษณ์ทางบรรจุภัณฑ์ของสินค้าอยู่มาก บรรจุภัณฑ์ดูไม่มีความน่าสนใจ โดยผู้ประกอบการ มีความต้องการที่จะปรับเปลี่ยนให้เอกลักษณ์ของบรรจุภัณฑ์นั้น ให้มีกลิ่นอายของธรรมชาติ และการอนุรักษ์ธรรมชาติ ต้องการชื่อผลิตภัณฑ์ ที่เป็นคำสั้นๆแต่มีเอกลักษณ์ แปลก เห็นแล้ว เกิดความสนใจ ซึ่งได้สรุปแนวทางและการแก้ปัญหาของผลิตภัณฑ์โดยแบ่งออกเป็นข้อๆดังนี้
1 การเปลี่ยนชื่อผลิตภัณฑ์
ทำการออกแบบเปลี่ยนชื่อแบรนด์ผลิตภัณฑ์เป็น "Rujisan Herbal" เป็นความหมายที่ผสมกัน โดยคำว่า PATTARPA(ภัทรภา ) แปลว่า มีรัศมีงาม และ คำว่า Herbal แปลว่า สมุนไพร ซึ่งเมื่อนำความหมายมารวมกันแล้ว จึงตีความได้ว่า ผลิตภัณฑ์ที่ทำจากสมุนไพร ที่มีสรรพคุณ สร้างความงามให้แก่ผู้ใช้
2 การออกแบบฉลากรูปแบบใหม่
ใช้โทนสีเขียวที่สื่อถึงธรรมชาติและสมุนไพรเป็นหลัก ปรับเปลี่ยนฟอนต์ให้อ่านง่ายขึ้น และ ปรับเปลี่ยนการจัดวางรวมไปถึงภาพประกอบให้มีความดูทันสมัยมากขึ้น
3 การเปลี่ยนบรรจุภัณฑ์
ลักษณะบรรจุภัณฑ์แบบเก่า : แชมพูและครีมนวดผมอเป็นสถานะของเหลว บรรจุภัณฑ์จากขวด เป็นขวดทรงแบนสูง มีขนาด (กว้าง x สูง) = 5 x 16.5 cm. ปริมาณสุทธิ 250 มล.ต่อขวด/ราคาสินค้า 1 ขวดต่อ 85 บาท
ลักษณะบรรจุภัณฑ์ใหม่ : เป็นรูปแบบทรงวายสูง พร้อมฝาปั๊มสีขาว การที่ได้เลือกขวดใสในการทำบรรจุภัณฑ์ก็เพื่อให้ได้เห็นเนื้อสีของผลิตภัณฑ์ อย่างชัดเจน พร้อม ทั้งรูปทรงของขวดที่ดูสะดุดตาไม่เหมือนแบรนด์อื่นๆ การเลือกใช้ฝาปั๊ม เพราะ ให้ง่ายต่อการใช้ งานมากขึ้น
ลักษณะบรรจุภัณฑ์ใหม่ : เป็นรูปแบบทรงวายสูง พร้อมฝาปั๊มสีขาว การที่ได้เลือกขวดใสในการทำบรรจุภัณฑ์ก็เพื่อให้ได้เห็นเนื้อสีของผลิตภัณฑ์ อย่างชัดเจน พร้อม ทั้งรูปทรงของขวดที่ดูสะดุดตาไม่เหมือนแบรนด์อื่นๆ การเลือกใช้ฝาปั๊ม เพราะ ให้ง่ายต่อการใช้ งานมากขึ้น
- รูปทรงบรรจุภัณฑ์ : เป็นขวดทรงสูง 4 เหลี่ยมคางหมู 4 ด้าน
- สีขวด : ใส
- ฝาบรรจุภัณฑ์ : ฝาปั๊มสีขาว / ครบฝาปั๊มสีเงิน
- ขนาดความ ( กว้าง x สูง cm. ) : 5.5 x 18.8 cm.
- ปริมาณความจุในขวดแชมพู : 240 มล.- หมายเลขพลาสติกรีไซเคิล : 2 พอลิเอธิลีน ( High Density Polyethylene ) เอชดิพีอี HDPE
นำเสนอผลงานในรูปแบบ Mood board
การนำเสนอ Mood board การศึกษาวิเคราะห์สินค้าและบรรจุภัณฑ์
(ที่มา : กิตติพันธ์ เย็นใจ, 2557)
การนำเสนอผลงานในรูปแบบ Mood board
(ที่มา : กิตติพันธ์ เย็นใจ, 2557)
Pattern Box Pattrapa
Dimension Pattern Box Pattrapa
(ที่มา : กิตติพันธ์ เย็นใจ, 2557)
Labal Pattrapa
Dimension Labal Pattrapa
(ที่มา : กิตติพันธ์ เย็นใจ, 2557)
การนำเสนอผลงานในรูปแบบ3D
การนำเสนอผลงานในรูปแบบ3D
(ที่มา : กิตติพันธ์ เย็นใจ, 2557)
การนำเสนอผลงานในรูปแบบ3D
(ที่มา : กิตติพันธ์ เย็นใจ, 2557)
การนำเสนอผลงานในรูปแบบ3D
(ที่มา : กิตติพันธ์ เย็นใจ, 2557)
การนำเสนอผลงานในรูปแบบ3D
(ที่มา : กิตติพันธ์ เย็นใจ, 2557)
ชิ้นงานที่เสร็จสมบูรณ์
(ที่มา : กิตติพันธ์ เย็นใจ, 2557)